top of page

Educational Quality Management

Principles, concepts, and practices in educational quality management. Types of Educational Quality Assurance. School, Department, and Subject Quality Assurance. Internal Quality Assurance system and mechanism. Quality management of classroom with reference to the role of teacher and advisor.  Internal assessment of school, department, and subject. Continuous Quality Assessment Information to develop Educational Quality.

Weekly Conclusion

Educational quality assurance การรับการประกันคุณภาพการศึกษา

1.สถานศึกษารับการประกันคุณภาพการจัดการศึกษาของตนเองโดยเริ่มจากการจัดทำรายงานผลการดำเนินการที่เรียกว่า  SAR   ---- Self-Assessment Report

2.การรับประกันคุณภาพการศึกษาจากหน่วยงานภายนอก คือ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา องค์การมหาชน (สมศ.)  ซึ่งเป็นหน่วยงานกลาง ทำหน้าที่ในการยืนยันเพื่อสะท้อนคุณภาพการจัดการศึกษาว่าเป็นไปตามที่อ้างหรือไม่ ซึ่งปัจจุบัน จะอยู่ในรอบ การประเมินที่ 4   ทั้งนี้ในกระบวนการนั้นก็จะสะท้อน ให้ข้อเสนอหรือยืนยันผลการประกันคุณภาพ เพือ่เป็นแนวทางในการพัฒนา หรือปรับปรุงคุณภาพการศึกษาต่อไป

**สิ่งสำคัญคือ กระบวนการชองการพัฒนา ปรับปรุง นั้น เป็นภาระหน้าที่ของสถานศึกษานั้นๆ 

องค์ประกอบของการประกันคุณภาพการศึกษา

  1. Quality control (หลักควบคุมคุณภาพ) โดยการกำหนดมาตรฐานสถานศึกษา อันประกอบไปด้วย ด้านผู้เรียน กระบวนการบริหาร และด้านการสอน  ซึ่งตามระบบการศึกษาของไทยก็จะมีมาตรฐานกลางที่ทุกสถานศึกษาต้องปฏิบัติโดยทั่วไปและเท่าเทียม

  2.  Quality  Audit  (หลักกำกับคุณภาพ)  ทุกองค์กรต้องทำแผนการพัฒนา เพื่อไปสู่มาตรฐาน และพิจารณา พร้อมทั้งนำสุ่การปฏิบัติและติดตาม ---ทำตามแผนหรือไม่  ได้ทำหรือไม่  ทำได้ดีหรือไม่ 

  3. Quality Assessment (หลักการประเมิน)  ---การเมินประดับคุณภาพของการปฏิบัติ

องค์ประกอบของการประกันคุณภาพการศึกษา

  1. Quality control (หลักควบคุมคุณภาพ) โดยการกำหนดมาตรฐานสถานศึกษา อันประกอบไปด้วย ด้านผู้เรียน กระบวนการบริหาร และด้านการสอน  ซึ่งตามระบบการศึกษาของไทยก็จะมีมาตรฐานกลางที่ทุกสถานศึกษาต้องปฏิบัติโดยทั่วไปและเท่าเทียม

  2.  Quality  Audit  (หลักกำกับคุณภาพ)  ทุกองค์กรต้องทำแผนการพัฒนา เพื่อไปสู่มาตรฐาน และพิจารณา พร้อมทั้งนำสุ่การปฏิบัติและติดตาม ---ทำตามแผนหรือไม่  ได้ทำหรือไม่  ทำได้ดีหรือไม่ 

  3. Quality Assessment (หลักการประเมิน)  ---การเมินประดับคุณภาพของการปฏิบัติ

ประกันคุณภาพการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาใดๆ เรามีแนวปฏิบัติอย่างไร

  1. ศึกษามาตรฐานการจัดการศึกษาที่เป็นมาตรฐานกลางของการจัดการศึกษา

  2. ทำการประมวลผลสำเร็จของการเรียนรู้ของผู้เรียน ทั้งจากเอกสาร  หลักฐานเชิงประจักษ์  ผลงาน ผลคะแนน

  3. ทำการจัดเก็บข้อมูลและประมวลผลทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ อาทิ การสัมภาษณ์ การตอบแบบสอบถาม การสะท้อนจากผู้เรียน

  4. ศึกษาแนวทางการพัฒนาจากแหล่งต่างๆ 

  5. นำข้อมูลต่างๆ ประมวลผล จัดทำการวิเคราะห์จุดเด่นและจุดควรพัฒนา

  6. วางแผนการพัฒนาในการจัดการเรียนการสอนรอบต่อไป

  • มาตรฐานคืออะไร? ประกอบด้วยประเด็นย่อยอะไรบ้าง? – Dimensions and KPI ในด้านต่าง ๆ มาตรฐานคือข้อกำหนดเกี่ยวข้องกับคุณภาพ มักประกอบด้วยมิติคุณภาพ และตัวชี้วัดสำคัญ ๆ ในแต่ละด้าน บางมาตรฐานอาจกำหนดลึกไปถึงเกณฑ์การให้คะแนนด้วย

  • เช่น โรงเรียนนานาชาติ ต้องมีการเทียบหลักสูตรเพื่อเข้าเรียนต่อในโรงเรียนอื่น ๆ ต่อไปได้ มีองค์กรเทียบคือ เลขา สพฐ. เป็นประธาน คณะกรรมการ 5-6 คน ยิ่งใกล้มี ป.6 รร.ต้องรีบไปเทียบเพื่อเรียนต่อได้ เป็นต้น

  • มาตรฐานคุณภาพสถานศึกษาที่เป็นสากล – ใช้ของสมาคมโรงเรียนและวิทยาลัยแห่สหรัฐอเมริกา (NEASC - The New England Association of Schools and Colleges) กำหนดมิติคุณภาพ 6 ด้านสำคัญ ได้แก่ 

  • Learning Culture โรงเรียนต้องมีวัฒนธรรมการเรียนรู้ในองค์กร

  • Professional Practices ปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพ โดยการใช้แผนพัฒนาระยะ 3-5 ปีเป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนองค์กร

  • Learning Management ให้ความสำคัญต่อการจัดการเรียนรู้ ผู้บริหารรับผิดชอบการนิเทศ การร่วมกับครูในการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ และให้ความสำคัญกับการเป็นห้องเรียนคุณภาพ (The Compete Classroom)

  • Learning Support ให้ความสำคัญกับการดูแล แก้ปัญหา และพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคล

  • Learning Resources เตรียมพร้อมด้านแหล่งเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน ทั้งนอกโรงเรียน แหล่งเรียนรู้ทางธรรมชาติ และแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน

  • Student Learning กำหนดเป้าหมายสมรรถนะผู้เรียนอย่างเป็นรูปธรรม

  • ด้าน Input – Output / กระบวนการบริหารจัดการ / ปัจจัย - เริ่มจาก 26 ตัวบ่งชี้ย่อย แล้วนำไปสู่ด้านผู้เรียน บริหารและเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 15 ด้านย่อย รอบที่สามถัดมาเน้น 3 ด้านเหมือนเดิม และรอบต่อไปคือประเมิน 8 ด้าน

  • กำหนด 3 ด้านให้ครู คือ จัดการเรียนรู้สุดยอด, จัดการเรียนรู้แก่เด็ก (สนับสนุนการเรียนรู้สุดยอด) และพัฒนาตนและวิชาชีพอย่างสุดยอด

1.jpg
2.jpg
3.jpg
ดาว.jpg
เหตุผลที่มองว่าโดดเด่น เพราะเป็นชิ้นงานที่เกิดจากการใช้หลักการในการประเมินคุณภาพการศึกษามาตัดสิน และร่วมกันวางแผนแก้ไขปัญหาทางการศึกษาอย่างแท้จริง และตามบริบทพื้นฐานของผู้ร่วมเสนอแนวทางการแก้ไข
4.jpg
25.jpg

EPLC Leraning Plan

5.jpg

EPLC  

NAME, TITLE

Share the amazing things customers are saying about your business. Double click, or click Edit Text to make it yours.

7.jpg

EPLC  

NAME, TITLE

Share the amazing things customers are saying about your business. Double click, or click Edit Text to make it yours.

6.jpg

EPLC  

24.jpg

Psychology for Teacher

8.jpg
11.jpg
13.jpg
0.jpg
12.jpg
9.jpg

Name, Title

Share the amazing things customers are saying about your business. Double click, or click Edit Text to make it yours.

Name, Title

Share the amazing things customers are saying about your business. Double click, or click Edit Text to make it yours.

Name, Title

Share the amazing things customers are saying about your business. Double click, or click Edit Text to make it yours.

14.jpg
16.jpg
15.jpg

123-456-7890

  • White Facebook Icon

Find us on Facebook

20.jpg
21.jpg
23.jpg
22.jpg
28.jpg
bottom of page